หนึ่งในสามสิบบทเรียนอิสลามสำหรับเยาวชนและผู้เริ่มต้น ด้วยวิธีการอธิบายที่ง่ายๆ และพร้อมด้วยหลักฐาน.
อิสลามสนับสนุนการทำงาน - (ไทย)
อธิบายความหมายของวะศียะฮฺ วิทยปัญญา(หิกมะฮฺ)ในการบัญญัติการสั่งเสีย หุก่มของอัล-วะศียะฮฺ จำนวนของมรดกที่อนุญาตให้สั่งเสีย เงื่อนไขของผู้รับวะศียะฮฺในการจัดการทรัพย์สิน ลักษณะของการวะศียะฮฺ บุคคลที่ถือว่าการวะศียะฮฺของเขาใช้ได้ ผู้ที่สามารถรับวะศียะฮฺได้อย่างถูกต้อง แนวทางการให้วะศิยะฮฺ หุก่มการเปลี่ยนแปลงวะศิยะฮฺ ฯลฯ จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
การบนบาน - (ไทย)
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาิทิ ความหมายของการบนบาน บทบัญญัติว่าด้วยการบนบาน บทบัญญัติว่าด้วยการบนบานต่อสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ บุคคลที่ถือว่าการบนบานของเขานั้นถูกต้อง บทบัญญัติว่าด้วยผู้ที่อ่อนแอไม่สามารถทำตามที่บนบานได้ บทบัญญัติว่ด้วยการบนบานในสิ่งที่เป็นความยากลำบาก ผู้ที่รับการบนบาน บทบัญญัติว่าด้วยผู้ที่บนบานการภักดีร่วมกับการฝ่าฝืน บทบัญญัติว่าด้วยผู้บนบานว่าจะถือศีลอดแต่แล้วไปตรงกับวันอีด
สิ่งที่อนุญาตให้โกหก - (ไทย)
การโกหกเป็นสิ่งต้องห้าม และเป็นบาปที่น่ารังเกียจอย่างยิ่ง แต่หากทำไปแล้วเกิดประโยชน์ทางศาสนามีน้ำหนักเพียงพอ เช่นไกล่เกลี่ยเรื่องระหว่างสามีภรรยาหรือระหว่างผู้คนต่างๆที่ไม่เกิดการอธรรมใดๆขึ้น หรือโกหกกับข้าศึกในช่วงทำสงคราม ก็เป็นสิ่งที่อนุญาตให้กระทำได้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
การขอฝน - (ไทย)
แผ่นดินเกิดแห้งแล้งขึ้นในสมัยของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม แล้วก็มีชายคนหนึ่ง ขณะที่ท่านเราะสูล กำลังคุฏบะฮฺวันศุกร์อยู่นั้น ได้ลุกขึ้นมาขอให้ท่านขอฝนจากอัลลอฮฺให้พวกเขา แล้วท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ก็ได้ขอดุอาอ์ในระหว่างคุฏบะฮฺ แล้วก็มีฝนตกลงมาในขณะนั้นทันที ตกเป็นเวลาหนึ่งอาทิตย์เต็ม จนกระทั้งพวกเขาพากันมาขอให้ท่านขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮฺให้ฝนหยุดตก เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
รางวัลสำหรับชาวสวรรค์ - (ไทย)
อธิบายอายะฮฺอัลกุรอานจากสูเราะฮฺยาซีน อายะฮฺที่ 55-58 ว่าด้วยผลตอบแทนของชาวสวรรค์ที่อัลลอฮฺได้เตรียมไว้สำหรับผู้ศรัทธาที่ได้เข้าสวรรค์ เป็นความสำราญตามที่ใจปรารถนา และมากไปกว่านั้นก็คือการได้เห็นพระผู้อภิบาลของพวกเขา ซึ่งนับเป็นสุดยอดแห่งความสุขของชาวสวรรค์ จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 21 - การอ่านอัลกุรอานในเดือนเราะมะฎอน พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
สิ่งที่เป็นวาญิบในการละหมาด - (ไทย)
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ อธิบายสิ่งที่เป็นวาญิบต่างๆ ของการละหมาด และอธิบายหุก่มผู้ที่ละเลยสิ่งที่วาญิบเหล่านั้น
อธิบายข้อมูลว่าด้วย ดิยะฮฺหรือสินไหมชดเชยสำหรับการทำร้ายร่างกายที่ไม่ถึงขั้นเสียชีวิต ประเภทของดิยะฮฺสำหรับการทำร้ายร่างกายไม่ถึงชีวิต - ประเภทที่หนึ่ง ดิยะฮฺของอวัยวะหรือการเสียประโยชน์การใช้งานของอวัยวะดังกล่าว - ประเภทที่สอง ดิยะฮฺของบาดแผลที่ใบหน้า (ชัจญะฮฺ) หรือบาดแผลทั่วไป (ญุรูหฺ) บาดแผลห้าประเภทตามบทบัญญัติ - ประเภทที่สาม ดิยะฮฺของกระดูกที่แตกหัก อัตราดิยะฮฺของผู้หญิง จากหนังสือมุคตะ็ศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
คำมักง่ายที่เป็นการโกหก - (ไทย)
ในบรรดาเรื่องต่างๆที่ผู้คนมักจะมักง่ายกับมันทั้งๆ ที่มันเป็นสิ่งต้องห้าม และถึงขึ้นเป็นบาปใหญ่เลย คือ การโกหกเพื่อให้คนอื่นๆหัวเราะ และอีกประการหนึ่งที่พาให้โกหกเช่นกันคือ การที่คนๆหนึ่งพูดทุกอย่างที่เขาได้ยินมาโดยไม่ได้ตรวจสอบให้มั่นใจก่อน เพราะสิ่งที่เขาได้ยินมามีทั้งเรื่องจริงทั้งเรื่องโกหก เมื่อเขาพูดทุกอย่างที่ได้ยินมา เขาก็จะได้พูดในสิ่งที่ไม่เกิดขึ้นจริงไปด้วย ก็เท่ากับว่าเขาได้โกหกแล้ว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
สุนนะฮฺในวันศุกร์ที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้ทำและสัญญาว่าจะได้รับรางวัลอันยิ่งใหญ่ คือการอ่านสุเราะฮฺอัล-กะฮ์ฟฺ และเช่นกันท่านยังได้แนะนำให้เศาะละวาตแก่ท่านให้มากๆ อีกทั้งยังมีมารยาทอีกประการหนึ่งในวันศุกร์คือการหลีกเลี่ยงสิ่งใดๆก็ตามอันเป็นการรบกวนคนมาละหมาด หรือทำให้พวกเขาเสียสมาธิ ไม่ว่าจะโดยการก้าวข้ามตัวเขา หรือพูดคุยกับคนมาละหมาด ถึงแม้ว่าจะทำไปเพื่อฃเป็นการแสดงความรังเกียจก็ตาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
บทบัญญัติเกี่ยวกับฝน - (ไทย)
ฝนเป็นเนียะมัตและความโปรดปรานจากอัลลอฮฺที่พระองค์ทรงมอบมันแก่บ่าวที่พระองค์ทรงประสงค์ และการพาดพึงเนียะมัตเหล่านี้กับการ(โคจร)เข้ามาของดวงดาว หรือฤดูกาล ถือเป็นการปฏิเสธเนียะมัตของอัลลอฮฺ ตะอาลา ทว่าเป็นหน้าที่(ของเรา)ที่จะต้องพาดพิงให้กับความโปรดปรานของอัลลอฮฺองค์เดียวเท่านั้น และดวงดาว และฤดูกาลเหล่านี้ไม่ใช่อื่นใดนอกจากเป็นสภาพการณ์ที่อัลลอฮฺทรงทำให้เกิดมีริซกีแก่บ่าวของพระองค์ตามประสงค์ และไม่มีผู้ใดล่วงรู้ถึงการตกลงมาของฝนนอกจากอัลลอฮฺเท่านั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม