×
Image

ความวิบัติจงประสบแด่ผู้ที่อ่าน แต่ไม่ใคร่ครวญ - (ไทย)

บทความตักเตือนและสะกิดใจให้สำนึกถึงความสำคัญของการใคร่ครวญ ต่อโองการต่างๆ ที่อัลลอฮฺได้ประทานมาให้กับมนุษย์ เพื่อที่พวกเขาจะได้ตระหนักรู้และใช้ชีวิตด้วยความเข้าใจ ไม่ลุ่มหลงไปกับความเพริศแพร้วในโลกนี้จนลืมนึกถึงชีวิตแห่งความนิรันดรในโลกหน้า

Image

คืนลัยละตุลก็อดรฺ - (ไทย)

ไฟล์เสียงโดย อาจารย์ฮาบีบุลลอฮฺ ศรีอุทัย ออกอากาศในรายการของวิทยุวามีย์ wamythai.org เป็นบทเรียนเกี่ยวกับคืนลัยละตุลก็อดรฺ อธิบายความประเสริฐของปฏิบัติอิบาดะฮฺในค่ำคืนนี้ พร้อมทั้งกระุตุ้นและสนับสนุนในขวนขวายลัยละตุลก็อดรฺในช่วงสิบวันสุดท้ายของเราะมะฎอน

Image

ประเภทของการถือศีลอด - (ไทย)

ท่านชัยคฺครับ อยากทราบว่าการถือศีลอดมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ? ฟัตวาตอบโดยชัยคฺ มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน จากหนังสือ ‎‎“ฟิกฮฺ อัล-อิบาดาต”

Image

ความประเสริฐของการบริจาคโดยไม่เปิดเผย - (ไทย)

การบริจาคอย่างลับๆทำให้ผู้บริจาคห่างไกลจากการโอ้อวด และช่วยให้เขามีเจตนาที่บริสุทธิ์ใจเพื่ออัลลอฮฺ และการเป็นรักษาเกียรติของเขาไม่ให้ตกต่ำต่อหน้าผู้อื่น ดังนั้น ด้วยเหตุนี้อัลลอฮฺจึงทรงสนับสนุนเรื่องนี้ และท่านรซูลก็ได้สัญญากับผู้ที่บริจาคอย่างลับมากๆว่าเขาจะได้รางวัลตอบแทนอย่างใหญ่หลวงในวันกิยามะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ความวุ่นวายและการทดสอบแห่งโลกดุนยา - (ไทย)

รวบรวมหลักฐานจากอัลกุรอานและหะดีษ ว่าด้วยการทดสอบของอัลลอฮฺในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตในโลกดุนยา ซึ่งถูกเปรียบเทียบว่าต่ำต้อยกว่าราคาของปีกยุง หรือของซากแพะเสียอีก และยังกล่าวถึงชีวประวัติของสะลัฟบางท่านในเรื่องความสมถะต่อโลกดุนยานี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์

Image

หะดีษที่ 5 - ผลตอบแทนของการถือศีลอดเป็นสิทธิของอัลลอฮฺ - (ไทย)

จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 5 - การตอบแทนผลบุญของการถือศอศีลอดเป็นสิทธิของอัลลอฮฺ พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ

Image

กระดาษที่มีพระนามของอัลลอฮฺ - (ไทย)

ถาม : ตามหลักศาสนาแล้ว เราจะจัดการกับกระดาษหนังสือพิมพ์ที่มีข้อความระบุถึงพระนามของอัลลอฮฺ เช่น อับดุลลอฮฺ หรือ อับดุลกะรีม อย่างไร?

Image

สิบวันสุดท้ายก่อนเราะมะฎอนจะจากลา - (ไทย)

คุฏบะฮฺญุมอัต ปลุกสำนึกเพื่อให้ความสำคัญกับช่วงเวลาสิบวันสุดท้ายของเดือนเราะมะฎอน อันเป็นช่วงเวลาที่เหลืออีกน้อยนิดให้มุสลิมใช้เป็นโอกาสในการทำอิบาดะฮฺต่ออัลลอฮฺในเดือนเราะมะฎอนอันประเสริฐอย่างคุ้มค่า ก่อนที่เราะมะฎอนจะผ่านไปโดยที่เราไม่สามารถจะรับรู้ว่าจะได้มีโอกาสต้อนรับมันอีกครั้งหรือไม่ในปีต่อๆ ไป

Image

การบริจาคที่ดีที่สุด - (ไทย)

การบริจาคเป็นความดีงามทั้งหมด และที่ดีที่สุดคือ(บริจาค)ทั้งที่ท่านยังจำเป็นต้องใช้มันอยู่ และในขณะที่ท่านมีสุขภาพดี ไม่ใช่ตอนที่ท่านจะตายแล้ว และการบริจาคให้ผู้เป็นเครือญาติที่ยากจนดีกว่าให้คนอื่นๆ เพราะการบริจาคให้ผู้เป็นญาตินั้นได้ทั้งการบริจาค และได้ทั้งการเชื่อมสัมพันธ์เครือญาติด้วย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

การมีปณิธานสูง - (ไทย)

กล่าวถึงความสำคัญของการมีปณิธานอันสูงส่ง ซึ่งเป็นนิสัยอันดีงาม เป็นคุณลักษณะอันน่าสรรเสริญ และเป็นจรรยามารยาทอันสูงส่ง มนุษย์จะมีคุณค่าในตัวเองมากเท่าใด จะมีสถานะสูงส่งเพียงใด ขึ้นอยู่กับการที่เขามีปณิธานอันสูงส่ง อีกทั้งมีเป้าหมายในชีวิตอันมีเกียรตินั่นเอง พร้อมอธิบายหลักจากอัลกุรอาน สุนนะฮฺ และคำพูดของบรรดาอุละมาอ์ในเรื่องนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์

Image

หะดีษที่ 4 - การอภัยโทษสำหรับผู้ถือศีลอด - (ไทย)

จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 4 - การอภัยโทษสำหรับผู้ถือศีลอด พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ

Image

เราะมะฎอน กับ อัลกุรอาน - (ไทย)

เดือนเราะมะฎอนเป็นเดือนแห่งการประทานอัลกุรอาน เพื่อเป็นธรรมนูญชีวิตแก่มวลมนุษย์ อัลลอฮฺผู้เป็นเจ้าทรงกำหนดบทบัญญัติการถือศีลอดในเดือนแห่งอัลกุรอานนี้ เพื่อขัดเกลาจิตใจของมนุษย์ให้สะอาดบริสุทธิ์และพร้อมสำหรับการน้อมนำอัลกุรอาน ศิยามหรือการถือศีลอดจึงมีความเกี่ยวข้องแนบแน่นกับอัลกุรอาน ผู้ใดที่ถือศีลอดแต่มิได้ให้ความสำคัญกับอัลกุรอาน เขาย่อมที่จะไม่บรรลุเจตนารมย์ที่แท้จริงของเราะมะฎอน