×
Image

ข้อปฏิบัติสำหรับผู้ที่เห็นจันทร์เสี้ยวแต่เพียงผู้เดียว - (ไทย)

ท่านชัยคฺครับ อะไรคือข้อปฏิบัติสำหรับผู้ที่เห็นจันทร์เสี้ยวแต่เพียงผู้เดียว โดยที่ผู้อื่นไม่ได้เริ่มถือศีลอดพร้อมกับเขา ? ฟัตวาตอบโดยชัยคฺ มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน จากหนังสือ ‎‎“ฟิกฮฺ อัล-อิบาดาต”

Image

บะเราะกะฮฺ ความจำเริญจากอัลลอฮฺ - (ไทย)

กล่าวถึงความหมายของคำว่าบะเราะกะฮฺ หรือความจำเริญจากอัลลอฮฺ อธิบายสาเหตุต่างๆ ที่จะนำมาซึ่งบะเราะกะฮฺในชีวิต อาทิ การยำเกรงต่ออัลลอฮฺ การขอดุอาอ์ การอิสติคอเราะฮฺ การใช้จ่ายเพื่อความดี การทำงานหรือการค้าในเช้าตรู่ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์

Image

คำแนะนำแด่คุณครู - (ไทย)

คำแนะนำแด่คุณครู กล่าวถึงคำแนะนำบางประการที่จำเป็นสำหรับผู้มีหน้าที่อบรมสั่งสอนนักเรียนนักศึกษา อาทิ การอิคลาศ การตักวา การเป็นตัวอย่าง การมีนิสัยที่ดี การสำนึกในหน้าที่รับผิดชอบ จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์

Image

หัวใจที่ใฝ่อิสลาม หัวใจที่ต้องได้รับการดูแล - (ไทย)

อธิบายความสำคัญและความจำเป็นที่จะต้องดูแลผู้สนใจอิสลาม และผู้ที่เพิ่งรับอิสลาม โดยการปฏิบัติตามมารยาทและแบบอย่างที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้เคยทำไว้เป็นตัวอย่างกับบรรดาผู้ที่ท่านเชิญชวนให้รับอิสลามในหมู่เศาะหาบะฮฺ

Image

การเริ่มนับเดือนเราะมะฎอน - (ไทย)

ท่านชัยคฺครับ อะไรคือสิ่งที่บ่งบอกว่าเดือนเราะมะฎอนได้เริ่มขึ้นแล้ว ? ฟัตวาตอบโดยชัยคฺ มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน จากหนังสือ ‎‎“ฟิกฮฺ อัล-อิบาดาต”

Image

มารยาทในที่ชุมนุมและการนั่งร่วมกัน 03 - (ไทย)

มารยาทในที่ชุมนุมประการหนึ่งที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม มีสุนนะฮฺไว้ เพื่อยับยั้งสิ่งต่างๆที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดความขุ่นข้องหมองใจกันในระหว่างมุสลิมด้วยกัน คือ ไม่ให้คนสองคนคุยกระซิบความลับกันโดยไม่บอกคนที่สามเมื่อในที่ชุมนุมมีเพียงสามคนเท่านั้น และเช่นกันท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามการที่คนๆหนึ่งจะเข้าไปนั่งแทรกคนสองคน นอกจากจะต้องขออนุญาตทั้งสองนั้นเสียก่อน เพราะบางทีทั้งสองอาจกำลังมีเรื่องที่ไม่ต้องการให้ผู้อื่นรับรู้ก็ได้ และมารยาทอีกประการหนึ่งคือให้จบการนั่งชุมนุมด้วยดุอาอ์กัฟฟาเราะฮฺ(สิ่งลบล้าง)การชุมนุม เพื่อที่จะลบล้างความผิดเล็กๆน้อยๆที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการชุมนุมได้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

หนึ่งวันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน - (ไทย)

จุลสารเล็กๆ อันทรงคุณค่าที่กล่าวถึงภารกิจหนิ่งวันของผู้ถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอน ซึ่งควรแก่การเอาใจใส่และมุ่งมั่นปฏิบัติ เพื่อให้ได้มาซึ่งความดีงามอันมากมายในเดือนนี้ เริ่มตั้งแต่เช้าที่เจตนาถือศีลอด เรื่อยมาถึงตอนกลางวันช่วงที่ทำงาน จนถึงช่วงเวลาการละศีลอด การทำศาสนกิจยามค่ำคืน การพักผ่อน และตื่นขึ้นมาในช่วงท้ายของคืน พร้อมระบุเป้าประสงค์บางประการที่จะได้รับในการต้อนรับเราะมะฎอนอันทรงเกียรตินี้

Image

หะดีษที่ 30 - การอิอฺติกาฟในสิบวันสุดท้ายของเราะมะฎอน - (ไทย)

จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 30 - การอิอฺติกาฟในสิบวันสุดท้ายของเราะมะฎอน พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ

Image

จดหมายเปิดผนึกถึงคุณสามีที่รัก - (ไทย)

เป็นคำตักเตือนและให้สติแก่บรรดาสามีทั้งหลาย ที่อาจจะละเลยในหน้าที่ต่อภรรยาของพวกเขา หรือความบกพร่องอื่นๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาในครอบครัว เป็นข้อคิดสะกิดใจที่สมควรแก่การไตร่ตรองและปรับปรุงแก้ไขด้วยความจริงใจ เพื่อร่วมสร้างความอบอุ่นและความสุขในครอบครัว

Image

คุฏบะฮฺ เราะมะฎอน เดือนแห่งการฝึกตัวเองเป็นคนดี - (ไทย)

คุฏบะฮฺวันศุกร์ที่เรียกร้องเชิญชวนให้มุสลิมเอาใจใส่การปฏิบัติความดีงามต่างๆ ในเดือนเราะมะฎอน เพราะมนุษย์ทุกคนมิอาจจะใช้ชีวิตอย่างจีรังในโลกนี้ ทุกคนจะต้องกลับไปยังพระผู้เป็นเจ้าในวันอาคิเราะฮฺ และไม่มีเสบียงใดๆ จะเป็นต้นทุนในการมีชีวิตในโลกหน้าได้นอกจากด้วยการปฏิบัติความดีตามที่อัลลอฮฺได้สั่งใช้เท่านั้น และเราะมะฎอนก็คือเทศกาลที่ดีที่สุดที่จะใช้โอกาสแห่งการฝึกฝนตัวเองเพื่อปฏิบัติความดีซึ่งมีอยู่มากมายในอิสลาม

Image

มารยาทในที่ชุมนุมและการนั่งร่วมกัน 02 - (ไทย)

มารยาทในการชุมนุมประการหนึ่งที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ชี้แนะให้รวมกันในที่ชุมนุม ไม่แตกแยกแบ่งกลุ่มกัน และไม่ให้คนใดใช้ให้อีกคนลุกขึ้นเพื่อที่เขาจะได้เข้าไปนั่งแทน และให้ผู้ชุมนุมช่วยกันขยายวงให้กว้างขึ้น และเช่นกันผู้ใดที่ได้ลุกออกไปแล้วกลับเข้ามายังที่เดิมของเขา เขาก็ย่อมมีความชอบธรรมที่สุดที่จะนั่งตรงที่เดิมนั้น และผู้ที่มาใหม่นั้นตามสุนนะฮฺคือให้นั่งต่อท้ายที่ชุมนุม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

การลดสายตาลงต่ำ - (ไทย)

การลดสายตาลงต่ำ กล่าวถึงฟิตนะฮฺและอันตรายที่เกิดจากการไม่ระวังสายตา และอธิบายคำแนะนำในการลดสายตา ตามหลักฐานจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺ พร้อมยกตัวอย่างข้อดีจากการลดสายตา จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์