ภัยของหลุมศพถือเป็นภัยร้ายแรงที่ชัยฏอนมารร้ายใช้เป็นอุบายหลอกล่อมนุษย์มาตั้งแต่ยุคอดีตถึงปัจจุบัน ทำให้คนเห็นว่าเป็นสิ่งที่ดีในการยกย่องหลุมศพ ก่อสร้างบนมัน และละหมาดหันไปทางมันจนกระทั้งไปถึงให้สักการะหลุมศพ ด้วยเหตุนี้ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงห้ามยกหลุมศพให้สูง หรือให้มีสิ่งก่อสร้าง หรือละหมาดไปทางหลุมศพ ขณะเดียวกันท่านก็ได้ใช้ให้มีการให้เกียรติ และไม่ให้ทำร้ายผู้อยู่ในหลุมศพด้วย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
คำสั่งปรับหลุมศพให้เท่ากัน - (ไทย)
การเยี่ยมสุสาน - (ไทย)
การเยี่ยมสุสานนั้นเป็นสุนนะฮฺที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม มีแบบอย่างไว้ ท่านทำด้วยตัวท่านเองและได้มีคำสั่งให้ทำด้วย เพราะมันทำให้คิดถึงโลกอาคิเราะฮฺ คนที่มีปัญญาเมื่อได้เห็นที่พำนักสุดท้ายของเขาในโลกนี้แล้ว ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเขาจะมีความสมถะ และมุ่งเน้นกับการก่อร่างสร้างบ้านอันถาวรของเขาในโลกอาคิเราะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
อัลลอฮฺทรงเจาะจงให้มัสยิดอัล-หะรอมที่มักกะฮฺ และมัสยิดนบีที่มะดีนะฮฺ เป็นการเฉพาะไม่เหมือนกับที่อื่นๆ และให้ความโปรดปรานทั้งสองมากกว่ามัสยิดที่อื่นๆ และทำให้ผลบุญของการละหมาดในมัสยิดทั้งสองนี้มากกว่าผลบุญของละหมาดที่อื่นหลายเท่า และทรงห้ามการเดินทางที่ไปเพื่อใกล้ชิดกับอัลลอฮฺนอกจากมัสยิดทั้งสองและมัสยิดอัล-อักศอ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
ละหมาดสุริยุปราคา - (ไทย)
สุริยุปราคา และจันทรุปราคาเป็นหนึ่งในสัญญานของอัลลอฮฺที่พระองค์ทรงทำให้บ่าวเกิดความวิตกหวาดกลัว และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บัญญัติว่าเมื่อเกิดอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นจากทั้งสองให้รีบไปสู่การละหมาด สู่การรำลึก และการขออภัยโทษ และอ้อนวอนขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮฺจนกว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจะคลายไป เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
หุก่มบางประการของการละหมาดสุนัต - (ไทย)
อัลลอฮฺทรงบัญญัติหลักปฏิบัติหลายประการสำหรับการละหมาดสุนัต แตกต่างจากละหมาดฟัรฎูเพื่อทำให้เกิดความสะดวกและเป็นการผ่อนปรนให้บ่าวของพระองค์ อาทิ อนุญาตให้ละหมาดบนพาหนะได้ ถึงแม้มันไม่ได้หันไปทางกิบละฮฺก็ตาม ซึ่งในละหมาดฟัรฎูจะทำอย่างนั้นไม่ได้ และอนุญาตให้นั่งละหมาดสุนัตได้แม้ไม่มีสาเหตุสุดวิสัยก็ตามเป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
ละหมาดสุนัต - (ไทย)
การละหมาดเป็นเรื่องที่ดีที่สุด และเป็นหนึ่งในสิ่งที่ดีที่สุดที่บ่าวจะใช้มันเพื่อใกล้ชิดกับพระผู้อภิบาลของเขา ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกกล่าวว่า การทำละหมาดมากๆ นั้นเป็นเหตุให้ได้เข้าสวรรค์ และท่านได้ใช้ให้ผู้ชายละหมาดสุนัตหรือละหมาดที่ไม่ใช่ฟัรฎูในบ้านของเขา เพราะเป็นการทำความดีแบบลับๆ และเป็นการสอนครอบครัว และทำให้พวกเขาเคยชินกับการละหมาด เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
สุนนะฮฺประการหนึ่งของท่านเราะสุลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม คือให้ละหมาดสุนัตฟัจญ์รฺเบาๆ ไม่ยาว และท่านก็อ่านสูเราะฮฺสั้น ๆ บางบทเป็นการเฉพาะ หรือเพียงไม่กี่อายะฮฺสั้น ๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
ละหมาดสุนัตฟัจญ์รฺเป็นอิบาดะฮฺอันประเสริฐที่ท่านนบีรักษามันไว้ และสนับสนุนเศาะหาบะฮฺให้ทำมัน และกล่าวถึงมันว่า –เพราะมันมีผลตอบแทนอันยิ่งใหญ่- ดีกว่าดุนยาและสิ่งทั้งหมดในนั้น และเมื่อท่านเห็นผู้ใดละหมาดสุนัตหลังละหมาดฟัจญ์รฺ ท่านจะแสดงความรังเกียจ แต่พอทราบว่าเป็นการละหมาดชดใช้สุนัตฟัจญ์รฺ ท่านก็นิ่งและยอมรับในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
ละหมาดสุนัตเราะวาติบ - (ไทย)
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ทำแบบอย่างให้ละหมาดสุนนะฮฺก่อนและหลังละหมาดฟัรฎู และท่านก็ได้ทำมันอย่างสม่ำเสมอ และสนับสนุนให้รักษามัน และด้วยเหตุนี้จึงเรียกว่าเป็น สุนัตเราะวาติบ(ละหมาดสุนัตที่ทำเป็นประจำ) ดังนั้น มุสลิมควรเอาใจใส่และรักษามันไว้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
บทที่กล่าวถึงเสื้อผ้าของผู้หญิง - (ไทย)
สตรีมุสลิมถูกใช้ให้ปกปิดร่างกายของนางจากผู้ชายที่ไม่ใช่มะห์ร็อม เพราะการเปิดเผยและเปลือยนั้นมีผลเสียอย่างใหญ่หลวง ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงผ่อนปรนให้ปล่อยชายผ้าให้ยาวและลากพื้นได้เพื่อต้องการให้ปกปิดเท้าของนาง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
การนุ่งผ้าลากยาวเพราะความลำพองตนหรือเพื่อโอ้อวดเป็นบาปใหญ่ที่อัลลอฮฺขู่จะลงโทษอย่างรุนแรงในวันกิยามะฮฺ ดังนั้นจึงควรที่มุสลิมจะระมัดระวังและพยายามหลีกให้ห่างไกล เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
ห้ามนุ่งผ้ายาวเกินกว่าตาตุ่ม - (ไทย)
ถือเป็นเรื่องน่ารังเกียจที่คนหลายๆคนมักจะสะเพร่าคือ นุ่งชายผ้าต่ำกว่าตาตุ่มทั้งที่มีรายงานขู่จะลงโทษอย่างรุนแรงกับผู้ที่กระทำมัน และถือว่ามันเป็นบาปใหญ่ที่มุสลิมควรหลีกให้ห่างไกลและต้องคอยเตือนให้ระวังมัน และที่เป็นสุนนะฮฺคือ การที่มุอ์มินสวมเสื้อผ้าที่อยู่ระหว่างตาตุ่มถึงครึ่งหน้าแข้ง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม