×
Image

กฎเกณฑ์การพิจารณาสัตว์ที่อนุมัติตามหลักการ - (ไทย)

กฎเกณฑ์การพิจารณาสัตว์ที่อนุมัติตามหลักการ สรุปจากหนังสือ “อัลหะยะวานาต” เขียนโดย เชคสุลัยมาน อัล-เคาะรอชีย์ รวมกฎว่าด้วยการจำแนกว่าสัตว์ชนิดใดทีีี่หะลาลและอนุญาตให้มุสลิมทานได้ และสัตว์ประเภทใดที่หะรอม ตามหลักศาสนาอิสลาม

Image

ข้อปฏิบัติในการฝังศพ - (ไทย)

ในการฝังคนตายมีข้อปฏิบัติและสุนนะฮฺที่มุสลิมควรยึดถือ และช่วยกันรักษาเพื่อจะได้ปฏิบัติตามสุนนะฮฺของท่านเราะสูลุลลอฮฺ(ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม) ในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ความประเสริฐของสิบคืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน - (ไทย)

กล่าวถึงคุณค่าของสิบคืนสุดท้ายแห่งเดือนเราะมะฎอนอันยิ่งใหญ่ ซึ่งท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ทำแบบอย่างไว้อย่างดียิ่งด้วยการอิอฺติกาฟในมัสยิด ซึ่งเป็นอิบาดะฮฺที่ทรงคุณค่า ทั้งนี้เพื่อไขว่คว้าค้นหาลัยละตุลก็อดรฺ อันเป็นคืนแห่งความสิริมงคลเพราะอัลกุรอานถูกประทานลงมาในคืนนั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์

Image

ข้อปฏิบัติบางอย่างเกี่ยวกับคนตาย - (ไทย)

กล่าวถึงข้อปฏิบัติบางประการเกี่ยวกับการจัดการศพ อาทิ การหอมคนตาย การรีบจัดการศพ การห้ามด่าคนตาย การจ่ายหนี้ให้คนตาย ฯลฯ ซึ่งต้องทำความเข้าใจกับมันในการจัดการกับศพ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ความประเสริฐของการบริจาค 2 - (ไทย)

การบริจาคในหนทางของอัลลอฮฺ เป็นหนึ่งในสาเหตุที่ป้องกันไฟนรก และรอดพ้นจากความน่าสะพรึงกลัวของวันกิยามะฮฺ และมันเป็นหนึ่งในสิ่งที่ผลบุญของมันจะยังคงมีขึ้นให้แก่เจ้าของมันถึงแม้เขาจะตายไปแล้วก็ตาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ญินายาต (ความผิดฐานฆ่าหรือทำร้ายร่างกาย) - (ไทย)

ข้อมูลว่าด้วย ญินายาต หรือความผิดฐานฆ่าผู้อื่น หรือทำร้ายร่างกาย อธิบาบความหมาย จุดประสงค์ของการบัญญัติบทลงโทษด้วยการกิศอศ ปัจจัยแห่งความจำเป็นทั้งห้าประการ ประเภทของสิทธิ บัญญัติว่าด้วยการฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด อัตตุวัยญิรีย์

Image

มารยาทการขออนุญาตเข้าบ้าน - (ไทย)

วิธีขออนุญาต คนที่จะขออนุญาตต้องยืนตรงไหน ? การขออนุญาตของทาส คนใช้ และเด็กๆ ไม่กระซิบกันยกเว้นเมื่อได้รับอนุญาตจากผู้ร่วมงาน ไม่ถ้ำมองในบ้านของคนอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต

Image

สิ่งที่ใช้อ่านในการละหมาดญะนาซะฮฺ - (ไทย)

ผู้ละหมาดให้อ่านฟาติหะฮฺในละหมาดคนตายหลังจากตักบีรครั้งที่หนึ่ง และหลังตักบีรที่สองให้อ่านเศาะละวาตให้ท่านนบี(ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม) เหมือนที่อ่านตอนนั่งตะชะฮ์ฮุด หลังจากนั้นให้ขอดุอาอ์ให้คนตายในตักบีรที่สาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

อัล-อะมานะฮฺ ความซื่อสัตย์ - (ไทย)

อธิบายความสำคัญของอะมานะฮฺ เป็นคุณลักษณะที่อัลลอฮฺได้มอบให้กับบรรดานบี และยังเป็นคุณลักษณะของผู้ศรัทธาที่แท้จริง มีหลักฐานต่างๆ จากอัลกุรอานและหะดีษที่ได้ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว รวมทั้งเรียกร้องเชิญชวนและสนับสนุนให้มนุษย์มีอะมานะฮฺในทุกๆ กิจการที่เขาเกี่ยวข้อง จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์

Image

บางส่วนจากประวัติของท่านอุมัร บิน อัล-ค็อฏฏอบ - (ไทย)

บางส่วนจากประวัติของท่านอุมัร บิน อัล-ค็อฏฏอบ กล่าวถึงชีวประวัติโดยสังเขปของเคาะลีฟะฮฺอุมัร ระบุหะดีษต่างๆ ที่กล่าวถึงความประเสริฐของท่าน บทบาทของท่านและสถานะอันสูงส่งของท่านในอิสลาม จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์

Image

มรดกของกะเทยผู้มีสองเพศ (อัล-คุนซา) - (ไทย)

จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยการรับมรดกของกะเทย บุคคลที่มีสองเพศ หรือ อัล-คุนซา อธิบายความหมายและลักษณะการแบ่งมรดกของกะเทย รวมถึงวิธีจำแนกเพศของบุคคลที่มีสองเพศในตัว

Image

การอบรมลูกหลาน (4) - (ไทย)

ความยุติธรรมเป็นสิ่งที่ถูกเรียกร้องให้มีในทุกเรื่อง และเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องใช้มันในการปฏิบัติต่อลูกๆ และในการอบรมสั่งสอนพวกเขา จะได้ไม่บ่มเพาะความไม่พอใจ หรือความเกลียดชังกันในระหว่างพวกเขา ด้วยเหตุนี้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงไม่ยอมเป็นสักขีพยานในการบริจาคของคนที่ไม่ให้ความเป็นธรรมในระหว่างลูกๆ และเรียกมันว่า ความไม่เป็นธรรม และท่านใช้ให้มีความยุติธรรมต่อลูกๆ และบรรดาสะลัฟเองพวกเขาก็ชอบให้ความเป็นธรรมในระหว่างลูกๆ ของพวกเขา แม้กระทั่งในเรื่องการหอมลูกก็ตาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415