×
Image

ผลของงานดูที่บั้นปลาย - (ไทย)

บทลงโทษที่เลวร้ายที่สุดอย่างหนึ่งคือ การที่คนเราจบชีวิตไปอย่างเลวร้าย ตายขณะทำสิ่งที่ไม่ดี แล้วเขาก็ต้องฟื้นขึ้นมาในสภาพนั้น ฉะนั้น คนมุสลิมเองก็อย่าได้หลงระเริงกับสิ่งที่ตนเองเป็น แต่ให้เขาขอดุอาอฺต่ออัลลอฮฺให้มีวาระสุดท้ายที่ดี และให้เขายืนหยัดบนทางอันถูกต้องเที่ยงตรง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ข้อปฏิบัติบางประการเมื่อใกล้เสียชีวิต - (ไทย)

เตาฮีดเป็นเรื่องใหญ่ และด้วยเหตุนี้รางวัลสำหรับผู้ที่ชีวิตของเขาจบลงด้วยการยอมรับในเตาฮีด โดยการกล่าวคำปฏิญาณ(ชะฮาดะฮฺ)ทั้งสอง คือเขาจะได้เข้าสวรรค์ เช่นเดียวกับที่ท่านรซูล(ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม)ได้ใช้ให้ผู้ที่ใกล้จะถึงวาระสุดท้ายของชีวิตให้คิดในทางที่ดีต่ออัลลอฮฺ และให้หวังความเมตตาของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ความปลื้มปิติของผู้ศรัทธา เนื่องจากได้เห็นพระเจ้าของเขา - (ไทย)

ผู้ศรัทธาจะมีความดีใจขณะเขาตายเพราะจะได้กลับไปพบกับพระผู้อภิบาลของเขาเมื่อได้รับแจ้งข่าวดีถึงความผาสุกที่อยู่ ณ ที่ของพระองค์ และอยากกลับไปพบกับพระองค์เพื่อจะได้รับสิ่งเหล่านั้น คน(มะยัต)จะพูดขึ้นมาขณะที่ถูกแบก(เพื่อพาไปฝัง) “รีบเอาฉันไป รีบเอาฉันไป” เพราะหวังในเมตตาและความโปรดปรานของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

การรำลึกถึงความตายและห้ามมิให้ปรารถนาที่จะตาย - (ไทย)

การพูดถึงความตาย และสิ่งที่อยู่หลังความตายมีผลต่อการปรับปรุงจิตใจตนเอง และกระตุ้นให้เกิดการสะสมเสบียงเพื่อกาลข้างหน้า และลดการหมกมุ่นในโลกดุนยานี้ ด้วยเหตุนี้เองท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม)จึงส่งเสริมให้พูดถึงความตายให้มากๆ และท่านนบี(ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม)เองก็ได้ห้ามการที่มุสลิมจะอยากตายเพียงเพราะมีทุกข์ภัยมาประสบ เพราะคนเราไม่รู้หรอกว่า การมีชีวิตอยู่ต่อหรือการตายจะดีกว่า แต่ให้ขอต่ออัลลอฮฺให้ทรงกำหนดสิ่งที่ดีกว่าแก่ตัวเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ห้ามด่าว่าลมพายุ และดุอาอ์ที่ใช้ขอขณะมีพายุพัด - (ไทย)

ลมและพายุเป็นหนึ่งในสิ่งถูกสร้าง(มัคลู๊ก)ของอัลลอฮฺที่พระองค์ทรงบงการมันตามพระประสงค์ทั้งที่ให้เป็นความเมตตาและเป็นการลงโทษ ท่านรซูลได้ห้ามมิให้ด่าลมพายุ เพราะมันถูกบงการมาอีกที และใช้ให้เราขอต่ออัลลอฮฺให้ได้รับสิ่งดีงามของมัน และขอความคุ้มครองให้พ้นจากสิ่งเลวร้ายของมัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

คำบางคำที่ห้ามพูด - (ไทย)

บทบัญญัติ(อิสลาม)ได้ห้ามคำพูดบางคำ เพราะถือเป็นมารยาทที่ไม่ดีต่ออัลลอฮฺ หรือเป็นการเทียบเคียงสิ่งอื่นเสมือนพระองค์ หนึ่งในนั้นคือ การด่าว่ากาลเวลา หรือด่าว่าช่วงเวลาที่เกิดทุกข์ภัย เพราะกาลเวลาไม่ได้เป็นผู้กระทำ ผู้กระทำจริงๆคืออัลลอฮฺ และ(เช่นกันห้าม)การกล่าวว่า (สิ่งนี้คือ)สิ่งที่อัลลอฮฺ และคนนั้นคนนี้ประสงค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ห้ามการขอ(ทาน) แต่อนุญาตให้รับได้หากไม่ได้ขอ และเขาให้อย่างเต็มใจ - (ไทย)

ท่านรซูลได้ห้ามการขอผู้อื่นโดยไม่จำเป็น เพราะมันเป็นเหตุให้จิตใจตกต่ำ ลุ่มหลงดุนยา และมัวแต่สะสมมัน และบอกว่าผู้ใดที่เคยชินกับการขอผู้อื่นจะมาในวันกิยามะฮฺที่ใบหน้าของเขาไม่มีชิ้นเนื้อใดๆ เป็นผลจากการไม่มีความอายเที่ยวแบมือขอคนในโลกดุนยานี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

อนุญาตให้บริจาคอย่างเปิดเผยเมื่อเป็นประโยชน์ - (ไทย)

การบริจาคอย่างลับๆดีกว่าการบริจาคอย่างเปิดเผย เพราะห่างไกลจากการโอ้อวด และปิดบังไม่ให้ผู้รับบริจาครู้ แต่ในบางทีการบริจาคอย่างเปิดเผยประเสริฐกว่าหากมีประโยชน์ เช่น เพื่อกระตุ้นให้คนอื่นๆ บริจาค เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ความประเสริฐของการบริจาคโดยไม่เปิดเผย - (ไทย)

การบริจาคอย่างลับๆทำให้ผู้บริจาคห่างไกลจากการโอ้อวด และช่วยให้เขามีเจตนาที่บริสุทธิ์ใจเพื่ออัลลอฮฺ และการเป็นรักษาเกียรติของเขาไม่ให้ตกต่ำต่อหน้าผู้อื่น ดังนั้น ด้วยเหตุนี้อัลลอฮฺจึงทรงสนับสนุนเรื่องนี้ และท่านรซูลก็ได้สัญญากับผู้ที่บริจาคอย่างลับมากๆว่าเขาจะได้รางวัลตอบแทนอย่างใหญ่หลวงในวันกิยามะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

การบริจาคที่ดีที่สุด - (ไทย)

การบริจาคเป็นความดีงามทั้งหมด และที่ดีที่สุดคือ(บริจาค)ทั้งที่ท่านยังจำเป็นต้องใช้มันอยู่ และในขณะที่ท่านมีสุขภาพดี ไม่ใช่ตอนที่ท่านจะตายแล้ว และการบริจาคให้ผู้เป็นเครือญาติที่ยากจนดีกว่าให้คนอื่นๆ เพราะการบริจาคให้ผู้เป็นญาตินั้นได้ทั้งการบริจาค และได้ทั้งการเชื่อมสัมพันธ์เครือญาติด้วย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ความประเสริฐของการบริจาค 2 - (ไทย)

การบริจาคในหนทางของอัลลอฮฺ เป็นหนึ่งในสาเหตุที่ป้องกันไฟนรก และรอดพ้นจากความน่าสะพรึงกลัวของวันกิยามะฮฺ และมันเป็นหนึ่งในสิ่งที่ผลบุญของมันจะยังคงมีขึ้นให้แก่เจ้าของมันถึงแม้เขาจะตายไปแล้วก็ตาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ความประเสริฐของการบริจาค 1 - (ไทย)

การบริจาคเป็นความดีงามทั้งหมด มันยังความจำเริญแก่ทรัพย์สิน และเป็นเหตุให้ได้รับริสกีปัจจัยยังชีพ และสิ่งใดที่คนเราบริจาคไปนั้นคือทรัพย์สินที่แท้จริงของเขา เพราะเขาจะพบมันในวันกิยามะฮฺ เป็นสิ่งที่เขาต้องการมันมากที่สุดแล้ว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม