×
Image

ความเมตตาของท่านนบีต่อผู้อ่อนแอ - (ไทย)

กล่าวถึงความเมตตาของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ต่อผู้อ่อนแอ และใครคือผู้อ่อนแอที่แท้จริง และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ทำตัวอย่างเอาไว้อย่างไรบ้างในการให้ความสำคัญและดูแลเอาใจใส่บรรดาผู้อ่อนแอเหล่านั้น ต้นฉบับเดิมจาก http://www.rasoulallah.net/index.php/ar/articles/article/14561

Image

ความปลื้มปิติของผู้ศรัทธา เนื่องจากได้เห็นพระเจ้าของเขา - (ไทย)

ผู้ศรัทธาจะมีความดีใจขณะเขาตายเพราะจะได้กลับไปพบกับพระผู้อภิบาลของเขาเมื่อได้รับแจ้งข่าวดีถึงความผาสุกที่อยู่ ณ ที่ของพระองค์ และอยากกลับไปพบกับพระองค์เพื่อจะได้รับสิ่งเหล่านั้น คน(มะยัต)จะพูดขึ้นมาขณะที่ถูกแบก(เพื่อพาไปฝัง) “รีบเอาฉันไป รีบเอาฉันไป” เพราะหวังในเมตตาและความโปรดปรานของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

เราะมะฎอน ก้าวแรกสู่การเปลี่ยนแปลงชีวิต - (ไทย)

บทความที่วิเคราะห์เกี่ยวกับเป้าหมายของการถือศีลอด นั่นคือ เพื่อการสร้างตักวา หรือความยำเกรงต่อพระผู้เป็นเจ้า เป็นการสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับชีวิต จากสภาพเดิมที่คลุกเคล้ากับการละเลยและละเมิดคำสอนของอัลลอฮฺ สู่บุคลิกใหม่ที่เป็นคุณลักษณะของผู้ศรัทธาที่แท้จริง

Image

หะดีษที่ 39 - ละหมาดอีดที่มุศ็อลลาเป็นสุนนะฮฺ - (ไทย)

จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 39 - ละหมาดอีดที่มุศ็อลลาเป็นสุนนะฮฺ พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ

Image

การถือศีลอดสุนัต - (ไทย)

การถือศีลอดสุนัต ประเภทของการถือศีลอด ประเภทของการถือศีลอดสุนัต หุก่มการถือศีลอดวันเสาร์และวันอาทิตย์ วันต่าง ๆ ที่ห้ามถือศีลอด หุก่มการถือศีลอดหกวันในเดือนเชาวาลก่อนการถือศีลอดชดของเดือนเราะมะฎอน หุก่มการยกเลิกการถือศีลอดสุนัต จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์

Image

การคืนดีระหว่างสามีภรรยา - (ไทย)

บทว่าด้วย อัรร็อจญ์อะฮฺ หรือการคืนดีของสามีภรรยาที่ได้หย่ากัน ประกอบด้วยเหตุผลที่ให้มีบัญญัติการคืนดี และเงื่อนไขของการกลับคืนดี จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์

Image

หุก่มบางประการของการละหมาดสุนัต - (ไทย)

อัลลอฮฺทรงบัญญัติหลักปฏิบัติหลายประการสำหรับการละหมาดสุนัต แตกต่างจากละหมาดฟัรฎูเพื่อทำให้เกิดความสะดวกและเป็นการผ่อนปรนให้บ่าวของพระองค์ อาทิ อนุญาตให้ละหมาดบนพาหนะได้ ถึงแม้มันไม่ได้หันไปทางกิบละฮฺก็ตาม ซึ่งในละหมาดฟัรฎูจะทำอย่างนั้นไม่ได้ และอนุญาตให้นั่งละหมาดสุนัตได้แม้ไม่มีสาเหตุสุดวิสัยก็ตามเป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ห้ามนุ่งผ้ายาวเกินกว่าตาตุ่ม - (ไทย)

ถือเป็นเรื่องน่ารังเกียจที่คนหลายๆคนมักจะสะเพร่าคือ นุ่งชายผ้าต่ำกว่าตาตุ่มทั้งที่มีรายงานขู่จะลงโทษอย่างรุนแรงกับผู้ที่กระทำมัน และถือว่ามันเป็นบาปใหญ่ที่มุสลิมควรหลีกให้ห่างไกลและต้องคอยเตือนให้ระวังมัน และที่เป็นสุนนะฮฺคือ การที่มุอ์มินสวมเสื้อผ้าที่อยู่ระหว่างตาตุ่มถึงครึ่งหน้าแข้ง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ความเมตตาของท่านนบีต่อชาวมุสลิม - (ไทย)

บทความเกริ่นนำว่าด้วยความเมตตาของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กับชาวมุสลิม ตามที่ปรากฏและยืนยันโดยอัลกุรอาน และตามที่ระบุในหะดีษของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เอง ต้นฉบับเดิมจาก http://www.rasoulallah.net/index.php/ar/articles/article/14559

Image

ผลของงานดูที่บั้นปลาย - (ไทย)

บทลงโทษที่เลวร้ายที่สุดอย่างหนึ่งคือ การที่คนเราจบชีวิตไปอย่างเลวร้าย ตายขณะทำสิ่งที่ไม่ดี แล้วเขาก็ต้องฟื้นขึ้นมาในสภาพนั้น ฉะนั้น คนมุสลิมเองก็อย่าได้หลงระเริงกับสิ่งที่ตนเองเป็น แต่ให้เขาขอดุอาอฺต่ออัลลอฮฺให้มีวาระสุดท้ายที่ดี และให้เขายืนหยัดบนทางอันถูกต้องเที่ยงตรง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

หะดีษที่ 38 - ส่งเสริมให้เศาะดะเกาะฮฺในเช้าวันอีด - (ไทย)

จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 38 - ส่งเสริมให้เศาะดะเกาะฮฺในเช้าวันอีด พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ

Image

มุสลิมะฮฺกับการสร้างสรรค์สังคม - (ไทย)

กล่าวถึงบทบาทของสตรีมุสลิมะฮฺในการทำหน้าที่สร้างสรรค์ ในกรอบของการสนับสนุนความดี ยับยั้งความชั่ว และการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในสิ่งที่ถูกต้อง อธิบายและวิเคราะห์พร้อมหลักฐานจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺ