×
Image

อย่าโกรธ - (ไทย)

หนึ่งในสามสิบบทเรียนอิสลามสำหรับเยาวชนและผู้เริ่มต้น ด้วยวิธีการอธิบายที่ง่ายๆ และพร้อมด้วยหลักฐาน.

Image

การลงโทษเชิงตักเตือนและสั่งสอน (อัต-ตะอฺซีร) - (ไทย)

จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ การลงโทษเชิงตักเตือนและสั่งสอน (อัต-ตะอฺซีร) การลงโทษต่อผู้กระทำผิดมี 3 ประเภท วิทยปัญญาที่มีบทบัญญัติให้มีการลงโทษแบบตักเตือน บทบัญญัติว่าด้วยการตักเตือนหรือสั่งสอน (อัตตะอฺซีร) ประเภทของการตักเตือนหรือสั่งสอน (อัตตะอฺซีร) ชนิดของการตักเตือนหรือสั่งสอน การลงโทษแบบสั่งสอน การไถ่โทษ (กัฟฟาเราะฮฺ) ของคนที่จูบผู้หญิงอื่นที่ไม่อนุญาตแก่เขาและเขาได้เสียใจ

Image

คุฏบะฮฺ เชิญชวนสู่การกุรบานอุฎหิยะฮฺ - (ไทย)

คุฏบะฮฺวันศุกร์ อธิบายความสำคัญของการกุรบานหรือการเชือดอุฎหิยะฮฺ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์สำคัญในวันอีดิลอัฎฮา ที่มุสลิมทุกคนไม่ควรเพิกเฉยและละเลยไม่สนใจ พร้อมด้วยหลักฐานจากอัลกุรอานและหะดีษ รวมถึงทัศนะจากบรรดาอุละมาอ์

Image

ห้ามการนินทา และความประเสริฐของการปกป้องศักดิ์ศรีของมุสลิม - (ไทย)

การนินทาเป็นหนึ่งในบาปใหญ่ และเป็นหนึ่งในบาปที่แพร่หลายในระหว่างผู้คนมากที่สุด อีกทั้งพวกเขาก็มักง่าย และพากันละเลยไม่แสดงการรังเกียจ ทั้งที่มันเป็นสาเหตุก่อความเป็นศัตรูต่อกัน และทำลายความเป็นปึกแผ่นของพวกเขา และเพราะความน่ารังเกียจของการนินทา อัลลอฮฺทรงเปรียบคนนินทาว่าเหมือนกับคนที่กินศพพี่น้องของเขา และบทลงโทษของคนนินทาในโลกหลุมศพคือเขาจะฉีกหน้าฉีกอกของเขาด้วยกรงเล็บที่ทำจากทองแดง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

อนุญาตการร้องไห้ให้คนตาย ตราบใดที่ไม่ตีโพยตีพาย ไม่แสดงการขุ่นเคือง - (ไทย)

การร้องไห้ให้คนตายเพราะความเมตตา และความโศกเศร้านั้นเป็นเรื่องอนุญาตให้กระทำได้ อัลลอฮฺไม่ทรงถือสาเอาความตราบที่ไม่ถึงกับการตีโพยตีพาย และไม่เป็นการแสดงความขุ่นข้องหมองใจต่อกำหนดของอัลลอฮฺ ท่านนบีเองก็ร้องไห้ตอน อิบรอฮีม บุตรชายของท่านเสียชีวิตไป พร้อมกับที่ท่านเองก็มีศรัทธาและพอใจอย่างบริบูรณ์กับเกาะฎออ์และเกาะดัรฺของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม

Image

ความประเสริฐของการไปละหมาดแต่เนิ่นๆ - (ไทย)

รวมหลักฐานจากหะดีษต่างๆ ของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่กล่าวถึงคุณค่าและความสำคัญของการไปละหมาดญะมาอะฮฺแต่เนิ่นๆ เช่น การได้รับดุอาอ์ที่มะลาอิกะฮฺช่วยขอให้ การได้ตักบีรฺครั้งแรกพร้อมอิมาม การมีสมาธิในการเดินไปละหมาด การได้มีโอกาสรำลึกถึงอัลลอฮฺและละหมาดสุนัต เป็นต้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์

Image

ละหมาดตะรอวีหฺ - (ไทย)

บทความที่ถอดจากการบรรยายของเชคริฎอ สมะดี กล่าวถึงรายละเอียดต่างๆ ของการละหมาดตะรอวีหฺ อาทิ ความประเสริฐ ความเป็นมา จำนวนร็อกอัต ระยะเวลาละหมาด รูปแบบการละหมาด และสถานที่การละหมาด

Image

หะดีษที่ 19 - ความประเสริฐของการละหมาดตะรอวีหฺ - (ไทย)

จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 19 - ความประเสริฐของการละหมาดตะรอวีหฺ พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ

Image

อะไรที่ต้องทำหลังจากหัจญ์ ? - (ไทย)

หนึ่งในจำนวนเรื่องที่เราต้องให้ความสำคัญหลังจากที่ได้ปฏิบัติอะมัลไปแล้วก็คือ ประเด็นการตอบรับอะมัล ว่ามันถูกรับหรือไม่ ? เพราะการได้รับเตาฟีกให้ปฏิบัติอะมัลศอลิหฺนั้นถือว่าเป็นนิอฺมัตที่ยิ่งใหญ่ แต่ว่ามันจะไม่สมบูรณ์จนกว่าจะได้รับอีกนิอฺมัตหนึ่งที่ยิ่งใหญ่กว่านั่นคือนิอฺมัตการตอบรับจากอัลลอฮฺ

Image

บัญญัติต่างๆ ว่าด้วยอุฎหิยะฮฺ (การกุรบ่าน) - (ไทย)

เป็นหนังสือที่เรียบเรียงขึ้นเฉพาะเพื่ออธิบายรายละเอียดต่างๆ ของการทำอุฎหิยะฮฺหรือการเชือดกุรบ่าน โดยระบุหลักฐานต่างๆ จากอัลกุรอานและสุนนะฮฺ พร้อมคำอธิบายและความเห็นจากอุละมาอ์ในมัซฮับทั้งสี่

Image

ซะกาตทรัพย์สินที่เตรียมไว้เพื่อค้าขาย - (ไทย)

บทความว่าด้วยซะกาตของทรัพย์สินที่เตรียมไว้เพื่อค้าขาย อาทิ หุก่มซะกาตทรัพย์สินที่เตรียมไว้เพื่อค้าขาย สภาพของทรัพย์สิน การจ่ายซะกาตหุ้นส่วนในบริษัทต่างๆ ซะกาตหุ้นส่วนมีสองลักษณะ ซะกาตทรัพย์สินที่หะรอม จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ของเชคมุหัมมัด อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์

Image

เรื่องเล่า “จอร์จ กับ วันอีด” - (ไทย)

เรื่องเล่าสะท้อนสภาพของมุสลิมกับการเฉลิมฉลองเทศกาลของผู้อื่น ในขณะที่สังคมมุสลิม ทั้งหนุ่มสาวและผู้ใหญ่ ต่างก็ร่วมเฉลิมฉลองในเทศกาลต่างๆ ของศาสนิกอื่น เรากลับไม่พบว่ามีใครที่ไม่ใช่มุสลิมมาร่วมเฉลิมฉลองในวันอีดของเราเลย ... เรื่องเล่านี้จะสะกิดให้ทุกคนได้ตระหนักถึงสภาพอันน่าหดหู่ และอาจจะทำให้คิดได้จนเกิดการเปลี่ยนแปลงในที่สุด