×
Image

หะดีษที่ 7 - การถือศีลอดสามารถลดอารมณ์ใคร่ - (ไทย)

จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 7 - การถือศีลอดสามารถลดอารมณ์ใคร่ พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ

Image

มาทานสะหูรฺตามสุนนะฮฺกันเถิด - (ไทย)

บทความอธิบายสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการทานอาหารสะหูรตามสุนนะฮฺ อาทิ ความหมายของสะหูร เวลารับประทานอาหารสะหูร หุก่มทานอาหารสะหูร ความประเสริฐของอาหารสะหูร ส่งเสริมให้ทานอาหารสะหูรในช่วงก่อนรุ่งอรุณ อาหารสะหูรที่ประเสริฐที่สุด ทานอาหารสะหูรแต่พอดี จะหยุดทานอาหารสะหูรเมื่อใด

Image

หะดีษที่ 6 - การถือศีลอดเป็นโล่ป้องกัน - (ไทย)

จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 6 - การถือศีลอดเป็นโล่ป้องกัน พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ

Image

ประวัติท่านอะลียฺ บิน อบี ฏอลิบ - (ไทย)

เรื่องราวโดยย่อจากประวัติของท่านอะลียฺ บิน อบีฏอลิบ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ หนึ่งในเศาะหาบะฮฺผู้ใกล้ชิดท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ผู้คนหนุ่มคนแรกที่รับอิสลาม กล่าวถึงลักษณะนิสัยของท่านเช่นความกล้าหาญ ความเฉลียวฉลาด ความประเสริฐและสถานะของท่านในอิสลาม และกล่าวถึงการเสียชีวิตของท่านโดยฆาตกรที่เป็นพวกเคาะวาริจญ์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์.

Image

สู่การสร้างสรรค์ชีวิตที่ดีงามใน 10 วัน(ซุลหิจญะฮฺ) - (ไทย)

บทความเชิญชวนให้มุสลิมทุกคนมุ่งมั่นปฏิบัติความดีต่างๆ ในช่วง 10 วันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺ ด้วยการนำเสนอโครงการและกิจกรรมต่างๆ เพื่อเพิ่มคุณค่าอีมานและอะมัลของผู้ศรัทธา ไม่ว่าจะเป็นการรักษาเวลาละหมาด การซิกรุลลอฮฺ การทำดีต่อผู้อื่น การบริจาค การถือศีลอด เป็นต้น

Image

หุก่มต่างๆ ในการละหมาด - (ไทย)

จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ หุก่มต่างๆ ในการละหมาด หุก่มการอ่านสูเราะฮฺฟาติหะฮฺในละหมาด วิธีการเลิกละหมาดสำหรับผู้ที่มีหะดัษในระหว่างที่กำลังละหมาดอยู่ สิ่งที่มุสลิมต้องอ่านในละหมาด ช่วงเวลาที่ต้องหยุดนิ่งในละหมาด ดุอาอ์ต่างๆ ที่ใช้อิสติฟตาหฺนั้นแบ่งออกเป็นสามระดับ หุก่มการจงใจล่าช้าในการละหมาด การกระทำที่ควรหลีกเลี่ยง(มักรูฮฺ)ในระหว่างละหมาด หุก่มการมองซ้ายมองขวาในละหมาด หุก่มการทำสุตเราะฮฺ(ที่กั้น)ในระหว่างละหมาด หุก่มการเดินตัดหน้าผู้ละหมาด ช่วงเวลาการยกมือทั้งสองข้างขึ้นในละหมาด การกระทำที่อนุญาตให้ปฏิบัติได้ในระหว่างละหมาด หุก่มการอ่านเสียงดังสำหรับผู้ที่ละหมาดคนเดียว

Image

เราะมะฎอน ระหว่างศิยามและอัลกุรอาน - (ไทย)

บทความที่พยายามจะสื่อถึงความสัมพันธ์ระหว่างการศิยาม (การถือศีลอด) และการประทานอัลกุรอานในเดือนเราะมะฎอน ซึ่งแท้จริงแล้ว หากสังเกตโดยไตร่ตรองอย่างถี่ถ้วนก็จะเห็นว่า ฟัรฎูการถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอนมีความเกี่ยวข้องแนบแน่น กับการที่อัลลอฮฺประทานอัลกุรอานลงมาในเดือนอันยิ่งใหญ่นี้

Image

ระดับชั้นของผู้ศรัทธา - (ไทย)

อธิบายระดับชั้นของผู้ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ จากหนังสือมุคตะศ็อร อัล-ฟิกฮิล อิสลามีย์ ของท่านเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์

Image

สาเหตุที่นำไปสู่ความเบิกบานใจ - (ไทย)

อธิบายสาเหตุต่างๆ ที่จะนำไปสู่ความเบิกบานใจ อาทิ การให้เอกภาพต่ออัลลอฮฺ การหาความรู้ที่ถูกต้อง การกลับตัวกลับใจสู่หนทางที่เที่ยงตรง การรำลึกถึงอัลลอฮฺ การทำดีต่อผู้อื่น การละทิ้งเรื่องไร้สาระ เป็นต้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์

Image

ความประเสริฐของการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น - (ไทย)

บทความว่าด้วยความประเสริฐของการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นเช่น การทำดีและความกตัญญูต่อบิดามารดา การทำดีกับเครือญาติ การเลี้ยงดูและอบรมสั่งสอนบุตร การอุปการะเลี้ยงดูเด็กกำพร้า การช่วยเหลือหญิงหม้ายและคนยากจน ของการผูกสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน การมีมารยาทและประพฤติดีต่อสตรีและคนใช้ เป็นต้น

Image

เราะมะฎอนกับการพัฒนาบุคลิกภาพ - (ไทย)

บทความในรูปคุฏบะฮฺ เชิญชวนให้สำรวจตนเองในเดือนเราะมะฎอน เพื่อการพัฒนาบุคลิกภาพให้ดีขึ้นจากเดิม โดยการละทิ้งนิสัยบางประการที่ไม่เหมาะไม่ควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสูบบุหรี่ ซึ่งเหมาะสมอย่างยิ่งที่จะใช้เดือนเราะมะฎอนเป็นจุดเริ่มต้นการเลิกบุหรี่

Image

เป้าหมายต่างๆ ของสูเราะฮฺ ยูนุส - (ไทย)

วิเคราะห์สาระสำคัญของสูเราะฮฺ ยูนุส ที่ได้มุ่งเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการสำคัญของความเชื่อแห่งศาสนาอิสลาม(อุศูล อัล-อะกีดะฮฺ อัล-อิสลามียะฮฺ) นั่นคือ การศรัทธาต่ออัลลอฮฺ การศรัทธาต่อบรรดาคัมภีร์ การศรัทธาต่อบรรดาศาสนทูต การศรัทธาต่อวันแห่งการฟื้นคืนชีพและวันแห่งการตอบแทน โดยเฉพาะการศรัทธาต่ออัล-เกาะฎออ์และอัล-เกาะดัรฺ หรือบันทึกกฎสภาวะต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น เป็นการยืนยันถึงแก่นแท้ของการศรัทธาในความเอกะของอัลลอฮฺ ญัลละวะอะลา และการศรัทธาต่ออัล-เกาะฎออ์และอัล-เกาะดัรฺ ในรูปแบบต่างๆ บางครั้งก็มาในรูปแบบของเรื่องราวของบรรดานบี และบางครั้งก็มาในรูปแบบของการย้ำเตือนให้มนุษย์รำลึกถึงเดชานุภาพของอัลลอฮฺ ความปรีชาของพระองค์ และความยุติธรรมของพระองค์ในการบริหารสรรพสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่